การติดตั้งสายไฟเลี้ยงและสายสัญญาณ
การติดตั้งสายไฟเลี้ยงและสายสัญญาณ
งหลังจากที่ได้ติดตั้งเมนบอร์ดเข้ากับเคส เพื่อที่จะนำอุปกรณ์ต่างๆ เข้ามาประกอบร่วมกันจนสำเร็จเป็นเครื่อง ขั้นตอนต่อไปก็จะเป็นการติดตั้งสายไฟที่จ่ายไปเลี้ยงให้กับเมนบอร์ด ติดตั้งสายสัญญาณต่างๆ สำหรับแสดงสถานะของการทำงานของเครื่อง
การติดตั้งสายไฟเลี้ยงและสายสัญญาณ
งหลังจากที่ได้ติดตั้งเมนบอร์ดเข้ากับเคส เพื่อที่จะนำอุปกรณ์ต่างๆ เข้ามาประกอบร่วมกันจนสำเร็จเป็นเครื่อง ขั้นตอนต่อไปก็จะเป็นการติดตั้งสายไฟที่จ่ายไปเลี้ยงให้กับเมนบอร์ด ติดตั้งสายสัญญาณต่างๆ สำหรับแสดงสถานะของการทำงานของเครื่อง
ติดตั้งสายไฟเลี้ยงบนเมนบอร์ด
สายไฟเลี้ยงที่มาจาก Power Supply ซึ่งเป็นแหล่งจ่ายไฟของเครื่องนั้น มีอยู่หลาย ๆชนิดด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นสายไฟเลี้ยงสำหรับเมนบอร์ด สายไฟเลี้ยงสำหรับฮาร์ดดิสก์และซีดีไดร์ฟ และสายไฟเลี้ยงสำหรับฟล็อบปี้ดิสก์ไดร์ฟ ซึ่งจะมีขนาดต่างๆ กันออกไป
สายไฟที่ใช้สำหรับจ่ายไฟเลี้ยงจาก Power Supply ไปยังเมนบอร์ด และอุปกรณ์ต่างๆ สามารถแบ่งสายไฟเลี้ยงออกเป็นชนิดต่างๆ ได้ดังนี้
สายไฟเลี้ยงที่มาจาก Power Supply ซึ่งเป็นแหล่งจ่ายไฟของเครื่องนั้น มีอยู่หลาย ๆชนิดด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นสายไฟเลี้ยงสำหรับเมนบอร์ด สายไฟเลี้ยงสำหรับฮาร์ดดิสก์และซีดีไดร์ฟ และสายไฟเลี้ยงสำหรับฟล็อบปี้ดิสก์ไดร์ฟ ซึ่งจะมีขนาดต่างๆ กันออกไป
สายไฟที่ใช้สำหรับจ่ายไฟเลี้ยงจาก Power Supply ไปยังเมนบอร์ด และอุปกรณ์ต่างๆ สามารถแบ่งสายไฟเลี้ยงออกเป็นชนิดต่างๆ ได้ดังนี้
(1) สายไฟเลี้ยงสำหรับเมนบอร์ด : มี 2 ขั้ว คือ ขั้วต่อแบบ 4 pin (ATX 12 volt) และขั้วต่อแบบ 20 หรือ 24 pin (ATA power connector) ซึ่งมีลักษณะเป็นขั้วต่อที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และมีเพียงขั้วต่อเดียวเท่านั้น สำหรับจ่ายไฟให้กับเมนบอร์ดโดยตรง ส่วนขั้วต่อแบบ 4 pin จะจ่ายไฟขนาด 12 volt ให้กับเมนบอร์ด
(2) สายไฟเลี้ยงสำหรับฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ และซีดีรอมไดร์ฟ : ขั้วต่อของสายไฟเลี้ยงชนิดนี้มีขนาดใหญ่รองลงมา และมีจำนวนมากที่สุดเพราะใช้ต่อกับฮาร์ดดิสก์ และซีดี / ดีวีดีไดร์ฟ
(3) สายไฟเลี้ยงสำหรับฟล็อบปี้ดิสก์ไดร์ฟ มีขนาดเล็กที่สุด โดยสายไฟเลี้ยงชนิดนี้มีทั้งหมด 2 เส้นเพื่อจ่ายไฟให้กับฟล็อบปี้ดิสก์ไดร์ฟ (ซึ่งต่อได้สูงสุด 2 ตัว)
ติดตั้งสายสวิตซ์ไฟและสัญญาณไฟด้านหน้าของเคสเข้ากับเมนบอร์ด
ด้านหน้าของเคสจะมีไฟแสดงสถานการณ์ทำงานของเครื่อง เช่น ไฟ Power ไฟแสดงการทำงานของฮาร์ดดิสก์ และภายในเคสจะมีลำโพงสำหรับส่งเสียงเตือน เมื่อเครื่องเกิดความผิดพลาดในการทำงาน ดังนั้นในตัวเครื่องจึงมีสายสัญญาณที่จะสนับสนุนกับการทำงานเหล่านี้โดย จะต้องเสียบสายเหล่านี้เข้ากับจัมพ์เปอร์ที่อยู่บนเมนบอร์ด
ด้านหน้าของเคสจะมีไฟแสดงสถานการณ์ทำงานของเครื่อง เช่น ไฟ Power ไฟแสดงการทำงานของฮาร์ดดิสก์ และภายในเคสจะมีลำโพงสำหรับส่งเสียงเตือน เมื่อเครื่องเกิดความผิดพลาดในการทำงาน ดังนั้นในตัวเครื่องจึงมีสายสัญญาณที่จะสนับสนุนกับการทำงานเหล่านี้โดย จะต้องเสียบสายเหล่านี้เข้ากับจัมพ์เปอร์ที่อยู่บนเมนบอร์ด
จัมพ์เปอร์สำหรับเสียบสายสัญญาณบนเมนบอร์ดนั้นมีหลายตัวด้วยกัน แต่จะมีสายสัญญาณที่มากับเคสให้เสียบ ดังนี้
· POWER-SW (Power Switch) เป็นสวิตซ์สำหรับเปิดให้เครื่องทำงาน
· RESET-SW (Reset Switch) จะเชื่อมต่อกับสวิตซ์ที่ใช้รีเซ็ตเครื่อง เพื่อรีสตาร์ทให้เครื่องทำงานใหม่หลังจากที่เครื่องค้างไม่ทำงาน
· PWR-LED (Power/Standby LED) จะเชื่อมต่อกับหลอดไฟที่อยู่ด้านหน้าของเคส เพื่อบอกให้เราทราบว่าเครื่องถูกเปิดทำงานอยู่
· SPEAKER (Speaker Connector) จะเชื่อมต่อกับลำโพงที่อยู่ด้านในเคส เพื่อจะได้ส่งเสียงบอกสถานะ และเตือนเมื่อเครื่องทำงานผิดพลาด
1. HDD-LED (IDE LED) จะเชื่อมต่อกับหลอดไฟ LED ที่อยู่ด้านหน้าของเคส เพื่อบอกให้ทราบว่าขณะนี้ฮาร์ดดิสก์กำลังทำการรับ/ส่งข้อมูลอยู่
ก่อนติดตั้งสายสัญญาณเข้ากับจัมพ์เปอร์นั้น จะต้องทำการสำรวจตำแหน่งของจัมพ์เปอร์ที่อยู่บนเมนบอร์ดก่อนว่าจัมพ์เปอร์แต่ละตัวอยู่ในตำแหน่งใด หลังจากที่ทราบตำแหน่งของจัมพ์เปอร์ พร้อมกับตำแหน่งของขาสัญญาณต่างๆ แล้ว ให้จับขั้วของสัญญาณเสียบเข้าจัมพ์เปอร์(จะต้องเสียบขั้วสายสัญญาณให้ตรงกับตำแหน่งจัมพ์เปอร์ ซึ่งดูตำแหน่งนี้ได้จากคู่มือ